Background



เกร็ดความรู้สู้โรค
อย. ดําเนินคดี “คาราบาวแดง” โฆษณาผิดกฎหมาย
30 ธันวาคม 2553

942


อย. เฉียบ เตรียมดําเนินคดีทางกฎหมายเขมกับผลิตภัณฑเครื่องดื่มผสมกาเฟอีน ตราคาราบาวแดง หลังพบ โฆษณาทางสื่อหนังสือพิมพ  ปายโฆษณา และวิทยุกระจายเสียง อางสรรพคุณมีิวตามิน บี 12 บํารุงสมอง ึซ่งเปนการ โฆษณาโดยไมไดรับอนุญาต และขณะนี้อย. ั่ สงระงับโฆษณาแลว หากไมดําเนินการทันทียังพบมีการโฆษณาอีก ืถอวาฝา  ฝนกฎหมาย นอกจากจะถูกดําเนินคดีทางอาญาขั้นเด็ดขาด มีโทษทั้งจําและปรับแลว ยังอาจถึงขั้นพักใชใบอนุญาตผลิต อาหาร นายแพทยนรังสันต พีรกิจ รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปดเผยกับผู ืส่อขาววา ตามนโยบาย คุมครองผูบริโภคของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข (นายจุ ิรนทรลักษณวิศิษฏ) ที่ปกปองมิใหประชาชนผูบริโภคตก เปนเหยื่อการโฆษณาผลิตภัณฑสุขภาพที่อวดอางสรรพคุณเกินจริง สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได ปฏิบัติการเชิงรุกตรวจสอบโฆษณาของผลิตภัณฑสุขภาพทุกผลิตภัณฑทางสื่อตางๆ ขณะนี้ยังพบการโฆษณาผลิตภัณฑ เครื่องดื่มผสมกาเฟอีน ตราคาราบาวแดง ในลักษณะโฆษณาวาผลิตภัณฑมีิวตามิน บี 12 มีสวนชวยในการทํางานของระบบ ประสาทและสมอง ทางสื่อหนังสือพิมพ ิวทยุกระจายเสียง รวมทั้งปายโฆษณาบนถนนตางๆ ทั้งในเขตกรุงเทพฯ และ ตางจังหวัด ที่แสดงปายวา “ ิวตามินบี 12 บํารุงสมอง” หรือ “คาราบาวแดง มีิวตามิน บี 12 เพิ่มความคิด เพิ่มคุณคาชีิวต” นอกจากนี้ยังพบการโฆษณาใหประชาชนเขียนขอความ “ ิวตามินบี 12 บํารุงสมอง” สงไปจับรางวัล ึซ่งการโฆษณาของ คาราบาวแดงในทุกสื่อทั้งทางตรงทางออม ืถอวาเปนการโฆษณาโดยไมไดรับอนุญาต เปนการกระทําที่ผิดกฎหมาย ทั้งนี้ อย. ไดเคยมีหนังสือสั่งใหระงับโฆษณาในสื่อทุกสื่อ และมีหนังสือเชิญพบบริษัท คาราบาวตะวันแดง จํากัด ึซ่งเปนผูผลิต และผูจําหนาย เพื่อใหรับทราบการโฆษณาที่ไมถูกตองตามกฎหมาย เพราะการโฆษณาดังกลาวยังไมไดรับอนุญาตจาก อย. และอาจทําใหผูบริโภคเขาใจผิดไดวาผลิตภัณฑดังกลาวบํารุงสมอง นอกจากนี้หากบริโภคจํานวนมาก อาจเปนผลเสียตอ สุขภาพ โดยเฉพาะตอเยาวชนไทย เนื่องจาก เครื่องดื่มตราคาราบาวแดง เปนเครื่องดื่มที่มีสวนผสมของกาเฟอีน หาม โฆษณาประโยชนคุณภาพอาหาร เพื่อไมใหจูงใจใหบริโภคมาก ึซ่งถาบริโภคเกินวันละ 2 ขวด และบริโภคมากกวาที่กําหนด อาจทําใหผูบริโภคที่มีความไวตอกาเฟอีนไดรับอันตราย รองเลขาธิการฯ อย. กลาวตอไปวา ในเบื้องตน อย. ไดสงหนังสือแจงระงับโฆษณาทางสื่อทุกสื่อไปยังผูผลิต/ ผูจําหนาย/ผูดําเนินการโฆษณาแลว รวมทั้งดําเนินคดีฐานโฆษณาคุณประโยชนคุณภาพหรือสรรพคุณของอาหาร เพื่อ ประโยชนทางการคาโดยไมไดรับอนุญาต มีโทษปรับไมเกินหาพันบาท อยางไรก็ตาม เมื่อพบมีการโฆษณาอยู เจาของ ผลิตภัณฑตองแสดงความรับผิดชอบ โดย อย. จะดําเนินการตามกฎหมายอยางเขมงวด ฐานฝาฝนคําสั่งระงับโฆษณามีโทษ จําคุกไมเกิน 2  ป หรือปรับไมเกิน 2 หมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ รวมทั้งปรับเปนรายวัน วันละไมนอยกวา 500 บาท แต ไมเกิน 1,000 บาท ตลอดระยะเวลาที่ยังไมปฏิบัติตามคําสั่ง และหากยังไมยุติอย. จะพิจารณาเสนอคณะกรรมการ อาหารในการออกคําส่ังพักใชใบอนุญาตผลิตอาหาร นอกจากนี้อย. กําลังตรวจสอบผลิตภัณฑสุขภาพอื่นๆ ีอกหลาย รายการที่โฆษณาโออวดสรรพคุณเกินจริงผานทางสื่อตางๆ รวมทั้งเคเบิลทีีว ึซ่งจะเผยแพรใหสาธารณชนทราบตอไป ทั้งนี้ ก็เพื่อคุมครองมิใหเกิดการหลอกลวงผูบริโภคอีกตอไป  อยางไรก็ตาม ขอใหผูประกอบการทุกรายมีจริยธรรม เห็นแกความ ปลอดภัยของผูบริโภค อยาโฆษณาดวยวิ ีธตางๆ ในลักษณะที่เกินเลยความเปนจริง มิเชนนั้น อย. จะดําเนินการตาม กฎหมายอยางเขมงวดและเด็ดขาด สําหรับผูบริโภคขอใหชวยเปนหูเปนตา และอยาหลงเชื่องาย หากพบการโฆษณาขาย ผลิตภัณฑสุขภาพโออวดเกินจริงใหแจงรองเรียนไดที่ สายดวน อย. 1556